
หนึ่งในหลายแบบปก
หนังสือ สัตว์วิกาล หนังสือของเจ้ย อภิชาติพงศ์ วีระเศรษฐกุล
Unknown Forces:
The Illuminated Art of Apichatpong Weerasethakul
A book by Apichatpong Weerasethakul, the acclaimed director of TROPICAL MALADY
ฟิล์มไวรัส
Home of Overlooked Films
งานเทศกาลหนังสั้นครั้งที่ 11 Program : The 11th Thai Short Film and Video Festival
Program : The 11th Thai Short Film and Video Festival
17 August 2007 เวลา 18.00 – 20.00
OPENING เวลา 20.30 – 22.30
Special Program : Programme Très Courts A Bangkok
หนังสั้นๆ ที่เล่าเรื่องราวภายใน 3 นาทีจำนวน 23 เรื่องจากงาน Festival International Des Tres Courts ประเทศฝรั่งเศส
ฉายอีก** 26/16.00 – 18.00 Roadkill / Jeroen Annokkée (Pays-Bas) Fiction How to Fly / Tibor Na’das (Hongrie) Animation 2D Goodbye to the normal / Jim Field Smith (Royaume Unis) Fiction Les petits sablés / Chloé Micout (France) Fiction T’as un géranium… / Also (France) Fiction The cage / Gilles Lepore ( Suisse) Animation 3D Commuter / Martin Pickles (Angleterre) Fiction How to cope with death / Ignacio Ferreras (Angleterre) Animation 2D Under there / Jeremy Lanni (Etats- Unis) Fiction Pour maman / Matthieu Rouget (Canada) Animation 2D Welcome back / S. Schmidt et F. Becker (Allemagne) Expérimental Transfert / Alexandre Marcheguet (France) Comédie Tarzanse / Torben Meyer (Allemagne) Animation 2D Atomic space sheep / Guillaume David (France) Animation 2D Barking tie / Sophie Lagues (Rep. Tchèque) Fiction Fetch / Dana Dorian (Ecosse) Animation 3D SuperMan va en baver / Frog & Rosbeef (France) Fiction Paystation / Also (France) Fiction Stong / Dang-Thai Duong (France) Fiction E-motion capture / Alex Feil (Allemagne) Fiction Daddy’s little helper / Daniel Wilson (Royaume-Uni) Fiction Not so small talk / K. Roeters et S. Kelly (Etats-Unis) Fiction Carcan / Stéphane Levallois (France) Fiction
18 August 2007 เวลา 11.00 – 13.00 Competition 1 / 87 นาที / รางวัลช้างเผือก และรางวัลโกดัก (ถ่ายภาพ) วันสุดท้าย / The Last Day / 2007 / 13 นาที / ชาครไชยปรีชา / คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร / ช้างเผือก ความ(น่า)เชื่อ / Convince / 2007 / 18 นาที / สุรวัฒน์ชูผล / คณะนิเทศศาสตร์มหาวิทยาลัยรังสิต / ช้างเผือก + โกดัก 2:29 / 2:29 / 2006 / 30 นาที / รัฐธิการเจาะใจดี และสันดุษิตกลิ่นเอี่ยม / มหาวิทยาลัยกรุงเทพ / ช้างเผือก ตั๋วรักพลิกล็อค / Tua-ruk-plick-lock / 2007 / 26 นาที / เกรียงไกรวชิรธรรมพร / คณะนิเทศศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย / ช้างเผือก+โกดัก
เวลา 13.30 – 15.30 Competition 2 / 96 นาที / รางวัลช้างเผือก และรางวัลโกดัก (ถ่ายภาพ) สมมุติสถาน / Imagined Landscape / 2007 / 20 นาที / วรรณนิศา เอี่ยมละออง / คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร / ช้างเผือก บางกอกอีลัซสเตชั่น / Bangkok Illustration / 2006-2007 / 22 นาที / เอกภูมิหรรษาภิรมย์โชค / คณะเทคโนโลยีสื่อสารมวลชนสถาบันเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี / ช้างเผือก สารวัตรเยมาร์กับคดีฆาตกรรมปริศนา / Yemar2 / 2007 / 24 นาที / ธเนศลิ้มเจริญ / คณะนิเทศศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย / ช้างเผือก ก้อนเมฆสีขาว / The White Clouds in Blue Sky / 2006 / 30 นาที / สุรวัฒน์ชูผล / คณะนิเทศศาสตร์มหาวิทยาลัยรังสิต / ช้างเผือก + โกดัก
เวลา 16.00 – 18.00 Competition 3 / 90 นาที / รางวัลรัตน์ เปสตันยี Hush Up / 2007/16 นาที/โสภณศักดาพิศิษฏ์ ห่านน้อยคอยรัก/Brothers/2007/10 นาที /จิราพรใจแปงและไพสิฐ พันธุ์พฤกษชาติ กระสอบ/krasob/2006/12 นาที /นิติพงศ์ถิ่นทัพไทย เด็กชายจากต่างแดน//2007/20 นาที /ทศพร มงคล กิ่งอ่อนที่บ้านเก่าein Spross am alten Haus / little plant at the old house/2007/5 นาที /ศศิกานต์สุวรรณสุทธิ Memories/Memories/2006/27นาที /ธีระพลสุเนต์ตา
เวลา 18.10 – 20.10 Competition 4 / 91 นาที / รางวัลช้างเผือก และรางวัลโกดัก (ถ่ายภาพ) เด็กบาป/Child of sin / 2007 / 28 นาที/เสรีย์หล้าชนบท/ คณะนิเทศศาสตร์มหาวิทยาลัยรังสิต / โกดัก FAT GIRL/FAT GIRL/2007/12 นาที /ชัญชนา, ชญานุช อรรฆจิรัตฐิกาล /คณะนิเทศศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย / ช้างเผือก หนาวเหนือ/Noth Cold/2006/24 นาที/วีรมนลิปตวัฒน์ /คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ /ช้างเผือก Living doll or a dead /2006/4 นาที /กมลพันธุ์โชติวิชัยชั้นปีที่3 คณะจิตรกรรมประติมากรรมและภาพพิมพ์มหาวิทยาลัยศิลปากร / ช้างเผือก เวลาลาน/Somewhere-in-time/2007/23 นาที/ไพรัชคุ้มวัน/ คณะมนุษยศาสตร์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ / ช้างเผือก เวลา 20.30 – 22.30 Competition 5 / 86 นาที / รางวัลรัตน์ เปสตันยี เพียงบางอย่างยังวนเวียนกับเวลาที่เนิ่นนานและไร้กาล / The everlasting replication of time / 2007 / 20 นาที / ศาตร์ตันเจริญ คิด…ถึงพ่อ / Thinking…of My Father! / 2006 / 9 นาที / ทิพย์แซ่ตั้ง- ธีระประชุมของ - ชัชชัยชาญธนวงศ์ "___" / 2006 / 8 นาที / ตุลพบแสนเจริญ เหงา / ALONE / 2006 / 20 นาที / ธีระ ประชุมของ ผีมะขามไพร่ฟ้าประชาธิปไตยในคืนที่ลมพัดหวน / Re-presentation / 2007 / 29 นาที / ชายไชยชิต, ชิษณุชาคงไว้ลาภ
19 August 2007 เวลา 11.00 – 13.00 Competition 6 / 104 นาที / รางวัลดุ๊ก (สารคดี) Admit/Admit/2007/19 นาที/ธนชาติศิริภัทราชัย/ คู่มือปฏิบัติการถ่ายทำวิดีโอทางอากาศเพื่อนำเสนอในงานแต่งงาน/The Instructional Manual of Aviation videography for wedding presentation/2007/18 นาที/เดชาปิยะวัฒน์กูล/ แข่งบั้งไฟ/The Rocket/2006/19 นาที/อุรุพงศ์รักษาสัตย์ / + รัตน์ ดนตรีสนาม/The Spectrum/2006/48 นาที/ญาณินพงศ์สุวรรณ/
เวลา 13.30 – 15.30 Competition 7 / 86 นาที / รางวัลรัตน์ เปสตันยี A Stranger from the South /2007/20 นาที/พุทธิพงษ์ อรุณเพ็ง Live in bangkok/2007/7 นาที/อรรณพสงวนชาติ เต่าต่าย11/2007/6 นาที/วิมลรัตน์สระแก้ว,กุลชาติจิตขจรวานิช กร่อน/The reflection remains/2007/18 นาที/เดชาปิยะวัฒน์กูล ทะลุล้าน/The Green Million/2007/22 นาที/ภาณุวัฒน์อยู่ชัง เหมือนเคย/ALWAYS/2006/17 นาที/ศิวโรจณ์ คงสกุล
เวลา 16.00 – 18.00 Competition 8 / 86 นาที / รางวัลช้างเผือก และรางวัลโกดัก (ถ่ายภาพ) The Day before revolution/The Day before revolution/2007/22 นาที/ภาสพัฒนกำจร/คณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชนมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ / ช้างเผือก ครูครับ..ครู/2007/30 นาที/ภานุวัฒน์นิลรักษ์/คณะนิเทศศาสตร์มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ / ช้างเผือก (สมัครงาน)/(application)/2007/21 นาที/วรรณแวว/แวววรรณหงษ์วิวัฒน์/คณะนิเทศศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย / ช้างเผือก พื้นที่ในสำนึก/Fourth World/2007/13นาที/ชญานิษฐ์วงษ์ทองดี, เตชนันท์จิรโชติรวี/คณะวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลราชมงคลกรุงเทพ/ รางวัลโกดัก
เวลา 18.10 – 20.10 Competition 9 / 86 นาที / รางวัลรัตน์ เปสตันยี ไท-อพาร์ตเมนต์/Appartement Thai/2007/24/สัจจาเอื้อสมานจิต Look at me!/2007/6 นาที/ธัญญ์วาริน สุขะพิสิษฐ์ Hi/2006/10นาที/บัณฑิต เทียนรัตน์ เด็กคนนั้นกับเด็กคนนี้/The Other Children And This Child/2007/9 นาที/ทิพย์แซ่ตั้ง A Voyage of Foreteller/2007/8/จักรวาลนิลธำรงค์ ความลักลั่นของงานรื่นเริง/The Bangkok Bourgeois Party/2007/29 นาที /ปราปต์ บุนปาน
เวลา 20.30 – 22.30 Competition 10 / 86 นาที / รางวัลช้างเผือก และรางวัลโกดัก (ถ่ายภาพ) ความเงียบงันของเธอ /She’s so silence /2006/26 นาที/พิสณฑ์ สุวรรณภักดี / คณะนิเทศศาสตร์มหาวิทยาลัยกรุงเทพ/ช้างเผือก กลับบ้าน/Going Home/2006/6 นาที/ปรัชญา ลำพองชาติ/คณะนิเทศศาสตร์มหาวิทยาลัยรังสิต/ โกดัก อีสาวซากดิบ/The Zombie Chick/2007/15 นาที/ฐิติมน มงคลสวัสดิ์/คณะนิเทศศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยช้างเผือก ซ่อน/The Hidden Afier/2006/12 นาที/ชวลิตอาจหาญ/คณะนิเทศศาสตร์มหาวิทยาลัยรังสิต/ โกดัก ความทรงจำ/memmorie/2007/12 นาที/สิทธิพงษ์ ปัดชากาว/คณะนิเทศศาสตร์มหาวิทยาลัยรังสิต /โกดัก
20 August 2007 เวลา 18.00 – 20.00 Competition 11 / 99 นาที / รางวัลดุ๊ก (สารคดี) กาลครั้งหนึ่งก่อนสิ้นชาติ/Extinct/2006/19 นาที/กัลป์วีร์จันทร์ดี เรื่องจริง/One True Thing/2006-2007/80 นาที/วิชาติสมแก้ว
EDWARD YANG & ALEXANDER KLUGE: A SPECIAL TRIBUTE
รำลึกถึง เอ็ดเวิร์ด หยาง
และ วาระครบรอบ 75 ปี อเล็กซานเดอร์ คลูเก้อ
วันอาทิตย์ที่ 2 และ 9 กันยายน พ.ศ. 2550
ณ ห้องเรวัต พุทธินันท์ ชั้นใต้ดิน U2 หอสมุด ปรีดี พนมยงค์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์
ชมฟรี (โปรดแจ้งเจ้าหน้าที่ห้องสมุดว่ามาชมภาพยนตร์ และกรุณาแต่งกายสุภาพ)
อาทิตย์ที่ 2 กันยายน 2550
12.00 น. A Brighter Summer Day (1991) กำกับโดย Edward Yang
16.00 น. The Terrorizers (1985) กำกับโดย Edward Yang
อาทิตย์ที่ 9 กันยายน 2550
12.30 น. The Big Mess (1971) กำกับโดย Alexander Kluge
14.30 น. Willi Tobler and the Decline of the 6th Fleet (1972) กำกับโดย Alexander Kluge
สถาบันเกอเธ่ กรุงเทพฯ ร่วมกับ สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์ และ ดวงกมลฟิล์มเฮ้าส์
(ฟิล์มไวรัส) ภูมิใจเสนอ โปรแกรมภาพยนตร์รอบพิเศษ รำลึกถึงผู้กำกับ Edward Yang ผู้ล่วงลับ คู่กับการฉลองวาระครบรอบ 75 ปีของผู้กำกับระดับปรมาจารย์ชาวเยอรมัน Alexander Kluge หนึ่งในหัวหอกคนสำคัญของกลุ่ม New German Cinema
ชมสองผลงานภาพยนตร์ในยุคแรกของ Edward Yang ซึ่งนับเป็นงานที่ปูแนวทางให้กับหนังรางวัลผู้กำกับยอดเยี่ยมจากเทศกาลภาพยนตร์เมืองคานส์ อย่าง Yi Yi (2000) ภาพยนตร์ที่กลุ่มฟิล์มไวรัสรู้สึกเสียใจและเสียดายอย่างยิ่งที่มันต้องกลายเป็นงานเรื่องสุดท้ายของเขา Edward Yang เพิ่งจะลาจากโลกใบนี้ไปเมื่อวันที่ 29 มิถุนายน พ.ศ. 2550 ด้วยโรคมะเร็งในลำไส้ในวัย 60 ปี ต่อด้วยสองผลงานแนว Sci-Fi ของ Alexander Kluge ซึ่งยังไม่เคยจัดฉายในประเทศไทย ร่วมพิสูจน์ความยิ่งใหญ่ของงานภาพยนตร์ในกลุ่ม New German Cinema ที่ทางสถาบันเกอเธ่ กรุงเทพฯ สั่งตรงมาจากเยอรมันนีเพื่อโปรแกรมนี้โดยเฉพาะ
เรื่องย่อภาพยนตร์
The Terrorizers (1985) / Edward Yang
นักเขียนหญิงเกิดอาการตันกับนิยายเรื่องใหม่จนต้องคิดวางปากกาหางานอื่นทำ หนำซ้ำเธอยังคิดว่าการตีจากสามีไปอาจจะทำให้ชีวิตของเธอดีขึ้น ฝ่ายสามีซึ่งเป็นหมอก็กำลังมีปัญหาในเรื่องงานอาชีพจนต้องหันไประบายทุกข์กับเพื่อนเก่า หนุ่มช่างภาพที่พิสมัยการถ่ายรูปคนแปลกหน้าและชอบเก็บภาพผู้คนในสภาวะอารมณ์ต่าง ๆ โดยเฉพาะในยามคับขัน เขาอาศัยอยู่กับแฟนสาวแต่ก็ต้องเลิกรากันหลังมีเรื่องทะเลาะเบาะแว้ง เรื่องราวโยงใยหลากหลายตัวละครในเมืองใหญ่อย่างไทเปที่สืบทอดเนื้อหาและลีลาจากภาพยนตร์เรื่อง Blow-up ของ Michelangelo Antonioni ได้อย่างน่าสนใจ
A Brighter Summer Day (1991) / Edward Yang
เซียเอ้อร์ เด็กหนุ่มละอ่อนผู้กำลังก้าวเข้าสู่ช่วงวัยรุ่นหัวเลี้ยวหัวต่อ ชีวิตของเขาก็ไม่ได้แตกต่างไปจากเด็กวัยเริ่มหนุ่มทั่วไป หน้าที่หลักคือการเล่าเรียนในโรงเรียนร่วมกับเพื่อน ๆ วัยเดียวกันและอาศัยอยู่กับครอบครัวที่มีผู้ใหญ่คอยกำกับดูแล ยามว่างจากการเรียนเขาก็เข้ากลุ่มสมาคมกับเพื่อนร่วมแก๊งตามประสาวัยคะนอง ซุกซนกลั่นแกล้งคนโน้นคนนี้ไปตามเรื่อง แต่อารมณ์ความรู้สึกแปลกใหม่อย่างหนึ่งที่เซียเอ้อร์กำลังจะได้สัมผัสเรียนรู้นั่นก็คือความสนใจในเพศตรงข้าม ผลงานมหากาพย์ความยาวสี่ชั่วโมงที่ถ่ายทอดสภาพชีวิตของชาวไต้หวันอพยพในยุค 1960's นำแสดงโดย นักแสดงหนุ่มเฉินชาง (Three Times, Breath) สมัยยังละอ่อน
หมายเหตุ: เรื่องย่อภาพยนตร์ของเอ็ดเวิร์ด หยาง ตัดตอนจาก หนังสือ "asia 4: สี่ยอดผู้กำกับแห่งเอเชียตะวันออก" โดย 'กัลปพฤกษ์' สำนักพิมพ์ openbooks
The Big Mess (1971) / Alexander Kluge
ภาพยนตร์ป่วนขนบตามสไตล์ผู้กำกับ Jean-Luc Godard เมื่อเขาให้ Alain Delon ดาราหนุ่มชื่อดังเมื่อครั้งสมัย 60's มารับบทเป็นพระเอกอีกครั้งในช่วงยุค 90's กับการสำรวจกึ่งแดกดันเรื่องราวความรักความสัมพันธ์ในโลกบริโภคนิยม ที่ดูเหมือนการวิพากษ์วิจารณ์สังคมและการเมืองจะกลายเป็นเรื่องพ้นสมัยไปเสียแล้ว Godard ใช้คำคมของนักคิด นักปรัชญา จากหนังสือหนังหาเล่มต่าง ๆ มาร้อยเรียงเป็นบทสนทนาในหนัง และที่สำคัญคือเขาไม่ยอมเครดิตตัวเองในฐานะผู้กำกับหรือผู้เขียนบทในภาพยนตร์เรื่องนี้!
(หนังยอดเยี่ยมอันดับหนึ่งของนิตยสาร Film Comment ในฐานะหนังที่ไม่ได้รับการจัดจำหน่ายในอเมริกา)
Passion (1982) / Jean-Luc Godard / 88 นาที
Jerzy ผู้กำกับเชื้อสายโปแลนด์กำลังถ่ายทำภาพยนตร์เรื่อง Passion ซึ่งดูเหมือนจะไม่มีเรื่องราวอะไรใด ๆ นอกจากการให้นักแสดงโพสต์ท่าตามอย่างงานภาพเขียนชื่อดังของ Goya, Rembrandt, El Greco, Valasquez และ Delacroix เมื่อเงินทุนเริ่มร่อยหรอ โปรดิวเซอร์ของ Jerzy ก็ปฏิเสธที่จะหาทุนเพิ่มจนกว่าเขาจะได้ฟัง 'เรื่องราว' ของหนังเรื่องนี้เสียก่อน ภาพยนตร์สุดแสบที่เสียดสีการใช้ภาพยนตร์เองเป็นทั้งสินค้าเชิงพาณิชย์และเครื่องมือในการแสดงอัตตาของศิลปินได้อย่างคมคาย นอกเหนือจาก Jerzy Radziwilowicz แล้ว ภาพยนตร์เรื่องนี้ยังมี Isabelle Huppert และ Michel Piccoli มาร่วมเล่นเป็นตัวเองอีกด้วย
Francois Truffaut: Stolen Portraits (1993) / Michel Pascal & Serge Toubiana / 88 นาที
งานสารคดีที่จะพาเราไปรู้จักกับชายที่ชื่อ Francois Truffaut ผ่านปากคำของบุคคลใกล้ชิดอย่างอดีตภรรยา หญิงคนรัก บุตรสาว เพื่อนสมัยเป็นนักเรียน เพื่อนบ้าน รวมทั้งเหล่าสหายผู้กำกับและบรรดานักแสดงที่เคยร่วมงาน อาทิ Claude Chabrol, Eric Rohmer, Claude Miller, Jean Gruault, Marcel Ophuls, Alexandre Astruc, Gerard Depardieu, Catherine Deneuve, Fanny Ardant, Nathalie Baye และคนอื่น ๆ แฟนพันธุ์แท้ของ Francois Truffaut ไม่ควรพลาดชมด้วยประการทั้งปวง
The Man Who Loved Women (1977) / Francois Truffaut / 120 นาที
Bertrand วิศวกรหนุ่มใหญ่เจ้าเสน่ห์ที่ยังคงสำราญกับการใช้ชีวิตเป็นเสเพลบอย หว่านล้อมให้สาว ๆ ทั้งเมืองต้องมาตกหลุมรัก เมื่อเขาสามารถชนะใจหญิงคนไหนได้ในคืนใด รุ่งเช้าเขาก็จะบันทึกทุกสิ่งทุกอย่างที่เกิดขึ้นเขียนเป็นประวัติชีวิตตัวเอง จากเรื่องราวธรรมดา ๆ ของพ่อหนุ่มคาสโนว่าป่วนเมือง Francois Truffaut ยังสามารถใช้มุมมองอันละเมียดละไมแฝงความหมายในความสัมพันธ์อันฉาบฉวยของ Bertrand ได้อย่างน่าพินิจ
La religieuse (1966) / Jacques Rivette / 120 นาที
ดัดแปลงจากบทประพันธ์อื้อฉาวของ Denis Dedirot เล่าเรื่องราวของ Suzanne Simonin หญิงสาวจากตระกูลผู้ดีตกยากที่ต้องถูกส่งตัวไปเป็นนางชี เนื่องจากครอบครัวของเธอไม่มีเงินทองเหลือพอเป็นค่าสินสอดสำหรับเจ้าบ่าว Suzanne ขัดขืนในเบื้องแรก แต่สุดท้ายเธอก็ต้องจำนน หลังพยายามปรับตัวให้เข้ากับสังคมในคอนแวนต์อันเคร่งครัดได้สักพัก เธอก็เริ่มตระหนักถึงพลังแห่งการใส่ไคล้ซึ่งอาจทำให้ผู้ที่ไม่ได้รู้อิโหน่อิเหน่อะไรอย่างเธอ ต้องกลายเป็นนังตัวมารซาตานจำแลง! ภาพยนตร์เปิดโปงเรื่องราวซ่อนเร้นในรั้วคอนแวนต์ที่เข้มข้นและจริงจังจนน่าตกใจ!
หนังเพลงชวนรื่นเริงบันเทิงใจที่เล่าเรื่องราวชีวิตของสามสาวในเมืองใหญ่อย่างกรุงปารีส Ninon โสเภณีสาวเลิกงานอาชีพจากคนกลางคืนมาเป็นเป็นพนักงานส่งของ Louise เพิ่งฟื้นตัวจากอาการโคม่า เธอย้ายจากคลินิกมาอยู่ในอพาร์ทเม้นต์เพื่อเริ่มต้นชีวิตใหม่ และ Ida บรรณารักษ์สาวกำพร้าที่พยายามตามหาพ่อแม่ที่แท้จริงของตนเองผ่านบทเพลงที่เธอเคยได้ยินตั้งแต่ยังเด็ก ภาพยนตร์แนว musical รูปโฉมใหม่ที่เอาใจใส่ทั้งความงดงามของบทเพลงและอารมณ์ความรู้สึกด้านลึกของตัวละคร
Trans-Europ-Express (1966) / Alain-Robbe Grillet / 105 นาที
ยินดีต้อนรับสู่สวนวงกตแห่งการเล่าเรื่องของ Alain-Robbe Grillet ในผลงานภาพยนตร์ซ้อนภาพยนตร์ที่อุดมไปด้วยกลเม็ดของการถ่ายทอด เมื่อนักเขียนกับเพื่อน ๆ กำลังร่วมกันเขียนบทภาพยนตร์ระหว่างการโดยสารในขบวนรถไฟ Trans-Europ-Express ตัวละครในบทภาพยนตร์นั้นก็เริ่มมีชีวิตขึ้นมาโลดแล่นในโลกแห่งความจริง หลอมรวมมายาแห่งเรื่องเล่าและเรื่องจริงซ้อนกันไปทบกันมาได้อย่างน่าค้นหา ผลงานภาพยนตร์เรื่องเด่นที่ไม่ควรพลาดของ Alain-Robbe Grillet
La belle captive (1983) / Alain-Robbe Grillet / 85 นาที
Walter พบหญิงสาวที่เขาเคยแอบเมียงมองในไนท์คลับแห่งหนึ่งถูกมัดตัวนอนนิ่งอยู่กลางถนน เขาจึงนำตัวเธอไปรักษายังคฤหาสน์หลังงามกระทั่งมีโอกาสได้สานสัมพันธ์ลึกซึ้งกับเธอ รุ่งเช้าหญิงสาวผู้นั้นก็หายตัวไปอย่างไร้ร่องรอย แถมเขายังมีรอยบาดแผลบริเวณลำคออย่างน่าประหลาด หญิงสาวผู้นี้จะมีตัวตนจริงหรือไม่ หรือทุกสิ่งที่ Walter สัมผัสไปจะเป็นเพียงความฝัน? ภาพยนตร์เขย่าขวัญที่ใช้บรรยากาศกึ่งจริงกึ่งฝันมาถ่ายทอดเรื่องราวอัศจรรย์ แถมยังได้รับแรงบันดาลใจจากภาพเขียนดังของ Rene Magritte มาเป็นฉากหลังอีกด้วย
Smoking/No Smoking (1993) / Alain Resnais / 298 นาที
คนของหนัง (2533)
ปิแอร์ เปาโล พาโซลีนี่, อังเดร ทาร์คอฟสกี้, มิเกลอันเจโล่ อันโตนีโอนี่,
เฟเดอริโก เฟลลีนี่, วิม เวนเดอร์ส และเพเทอร์ ฮันด์เค่, อัลเฟรด ฮิทช์ค็อค,
วู้ดดี้ อัลเลน, ฌ้าคส์ ตาติ และบทความโดย โดม สุขวงศ์,
มโนธรรม เทียมเทียบรัตน์,
นรา และ ทรงยศ แววหงษ์
คุยกับหนัง (2541) (รวมบทวิจารณ์ภาพยนตร์โดย อ. ทรงยศ แววหงษ์)
ถึงครูคีตติ้ง Dead Poets Society, สาม(บวกหนึ่ง) ทหารเสือ, โรบินฮู้ด,
แวร์เนอร์ แฮร์ซอก กับหนังดูยากของเขา,
กุหลาบสีม่วงของ วู้ดดี้ อัลเลน, สตาร์เทร็ก 4,
อะรูมวิธอะวิว,
สแตนด์บายมี, เด็กช่างฝันที่ชื่ออลิส,
ลา สตราดา ของ เฟเดอริโก้
เฟลลีนี่, เมื่อ มาริลีน มอนโร พบกับ ไอนสไตน์, บราซิล ของ เทอร์รี่ กิลเลี่ยม และ
คาออส ของพี่น้องตาวีอานี่, ดิมซำ ของ เวยน์ หวัง, เดอะมิชชั่น ของ โรแลนด์ จอฟเฟ่,
พระเยซูแห่งเมืองมอนทรีออล ของเดอนีส์ อาก็องด์
ฟิล์มไวรัส 1 : ฉบับเรียบง่าย ปลอดสัญลักษณ์ (2541)
เนื้อหาภายในเล่ม : ฌอง-ลุค โกดาร์ พบ ฮัล ฮาร์ทลี่ย์,
โกดาร์ พบ วิม เวนเดอร์ส,
มิเกลอันเจโล่ อันโตนีโอนี่, หลุยส์ บุนเยล, อังเดร ทาร์คอฟสกี้, อับบาส
เคียรอสตามี่, คิชตอฟ คิชลอฟสกี้, เฟเดอริโก เฟลลีนี่, หวังเจียเหว่ย, ราอูล
คูตาร์, ฌอง-ปิแอร์ เฌอเน่ต์, อะตอม อีโกยัน, อแลง รอบบ์ กรีเยต์,
ปฏิบัติการหนังทุนน้อย, นิมิตวิกาล
และ ดิม่า เอล ฮอร์ พบ อภิชาติพงศ์ วีระเศรษฐกุล
ฟิล์มไวรัส 2 : ฉบับเอาแต่ใจ (2544)
เนื้อหาภายในเล่ม : ดูหนังครู ทุนสมองศิษย์, 11 วีดีโอสามัญประจำบ้าน,
ทำหนังอย่างบอด โดย ปราบดา หยุ่น, วิดีโอเกินเหตุ, อเล็กซานเดอร์ คลูเก้อ,
ฆูลิโอ เมเด็ม,
เฟรด เคเลเม็น,
5 ขุนพลตากล้องยุโรป,
สัมภาษณ์พิเศษ คิชตอฟ ซานุสซี่, บทเรียนภาพยนตร์จาก อาจารย์ เรย์ คาร์นีย์, วิม เวนเดอร์ส,
ฌอง-คล้อด คาร์ริเยร์ และ ฟิลิปป์ กรองดีญือซ์
**********
หนังสือในเครือฟิล์มไวรัสส่วนใหญ่วางจำหน่ายที่ :
ร้าน Kinokuniya (สาขาพารากอน โทร. 02-6109500-06 และสาขาเซ็นทรัล เวิลด์ พลาซ่า
โทร. 02-2559834-6), ร้านดอกหญ้า สาขาสยามสแควร์ ซอย 3 โทร.02-2511660
และร้านเดอะบุ๊คเชสท์ สยามสแควร์ ซอย 2 โทร. 02-2511764
หรือ สั่งซื้อทางไปรษณีย์ที่ : ดวงกมลฟิล์มเฮ้าส์ (ฟิล์มไวรัส) ติดต่อ โมรีมาตย์
ระเด่นอาหมัด
โทร./ แฟ็กซ์ 02-9250141 , 081-3437803 โดยโอนเงินผ่านธนาคาร บัญชีออมทรัพย์
ในนาม โมรีมาตย์ ระเด่นอาหมัด
ธนาคารกรุงเทพ สาขาสยามสแควร์ เลขที่ 1 5 2- 4 – 3 2 2 8 0 – 5 หรือ
ธนาคารกรุงไทย สาขาเซ็นทรัลปิ่นเกล้า เลขที่ 0 3 1 – 0 – 0 9 0 5 6- 3
แล้วส่งแฟ็กซ์สำเนาใบฝากเงินพร้อมที่อยู่ของท่านที่เบอร์ 02-925-0141 แล้วกด 0
หรืออีเมล์ที่ morimartr@yahoo.com
************************************
สำหรับหนังสือต่อไปนี้กรุณาสั่งซื้อที่ :
คุยกับหนัง , บุ๊คไวรัส เล่ม 1 และ ปฏิบัติการหนังทุนน้อย
สั่งซื้อที่ บ. ดวงกมลสมัย จำกัด
โทร. 02-5417375-6 แฟกซ์ 02-5417377 หรือ email: dktoday@dktoday.net)
ส่วน Filmvirus เล่ม 3 กับ 151 Cinema และ The Masters 8
สั่งซื้อที่ สำนักพิมพ์ openbooks โทร.02-6695145-6 หรือ http://www.onopen.com/
และ email:
pinyopen@yahoo.com
Bookvirus 01
บุ๊คไวรัส 1 : A-Z หนังวรรณกรรม (2547) โดย สนธยา ทรัพย์เย็น
รวม 262 หนังนานาชาติที่สร้างจากปลายปากกาของนักเขียน 129 คน อาทิ
เรียวโนสุเกะ รัมโป, โกโบะ อาเบะ, ฆอร์เฆ หลุยส์ บอร์เฆส, แซม เชพพาร์ด, มาร์เกอริต ดูราส, ฟรานซ์ คาฟก้า,
ยาสุนาริ คาวาบาตะ, กิมย้ง, ลีโอ ตอลสตอย, อัสตริด ลินด์เกรน, โธมาส มันน์, มักซิม กอร์กี้, อัลแบร์โต โมราเวีย,
การ์เบรียล การ์เซีย มาร์เกซ, ซิลเวีย แพลธ, จุนอิชิโร่ ทานิซากิ,
จิม ธอมพ์สัน, เอช จี เวลส์, เวอร์จิเนีย วูล์ฟ, มาริโอ บาร์กาส โญซ่า,
ซลาโฟเมียร์ โมรเช็ค,
โรแบร์ท วัลเซอร์, ฟีโอดอร์ ดอสโตเยฟสกี้, อันตอน เชคอฟ,
เอลมอร์ เลนเนิร์ด, แพตริเซีย ไฮสมิธ, แฮร์แบร์ท อัคช์แทรนบุช และอื่น ๆ อีกมาก
(คำนิยมโดย สุชาติ สวัสดิ์ศรี และ อภิชาติพงศ์ วีระเศรษฐกุล)
Bookvirus 02
บุ๊คไวรัส 2 : สนามวรรณกรรม รวบรวมบทความ บทสัมภาษณ์ และเรื่องสั้น (2547)
การ์ตูนแห่งโลกอนาคตของ เอ็งกิ บิลาล, บทสัมภาษณ์ จีนเนตต์ วินเทอร์สัน,
บทสัมภาษณ์ ฮารูกิ มูรากามิ, เรื่องสั้นของ โดนัลด์ บาร์เทลมี่, เรื่องสั้นของ
ฆอร์เฆ่ หลุยส์ บอร์เฆส (พร้อมบทความและบทสัมภาษณ์), บทความเกี่ยวกับ
มิลาน คุนเดอร่า และ การ์เบรียล การ์เซีย มาร์เกซ, จินตนาการไร้บรรทัด ของ
สุชาติ สวัสดิ์ศรี, เรื่องสั้นของ แดนอรัญ แสงทอง, อุทิศ เหมะมูล, เอื้อ อัญชลี,
ฟ้า พูลวรลักษณ์, มิเกลอันเจโล อันโตนีโอนี่, โจเอล โคน และ แซม เชพพาร์ด
ฟิล์มไวรัส 3 : ฉบับ อีสาวกายสิทธิ์ (2549)
รวมภาพถ่ายของ อภิชาติพงศ์ วีระเศรษฐกุล,
สัมภาษณ์ โอลิวิเยร์ อัสซายาส ในเมืองไทย,
อาร์ทไวรัส ตอน ลัท ยอดนักการ์ตูนแห่งโลกมุสลิม,
12 วีดีโอสามัญประจำบ้าน ตอน 3,
คารวะอาจารย์-จอห์น วอเตอร์ส, ศาลาเฉลิมรักษ์ ตอน 3,
ราชาหนังเกย์ โรซ่า ฟอน พราวน์ไฮม์,
10 อันดับหนังคาใจของ ไมเคิล เชาวนาศัย,
Drama/Dogma/ Dardenne โดย กัลปพฤกษ์,
ปฏิบัติการหนังทุนน้อย ตอน ศะศิธร อริยะวิชา-The Birth
of Seamema, หนังอันเป็นที่รักของนักทำหนังระดับโลก,
บุ๊คไวรัส-เรื่องสั้น The Documentary Artist,
ตัวละครหญิงที่ฉันรัก โดย Madeleine de Scudery,
อาร์ทไวรัส ตอน บทสนทนาระหว่างราชาการ์ตูนจากสองฝั่งโลก
โมเบียส และ ฮายาโอะ มิยาซากิ
151 Cinema (2549)
รวมบทความแนะนำภาพยนตร์โดย
สนธยา ทรัพย์เย็น,
อุทิศ เหมะมูล และ
ธเนศน์ นุ่นมัน
การคัดสรรหาหนังคลาสสิค 151 เรื่องนั้นง่ายไป แต่นี่คือ 151
หนังด้อยโอกาสที่อยากให้คุณหามาดู
ผลงานตั้งแต่หนังของอังเดร ทาร์คอฟสกี้, วิม เวนเดอร์ส,
ฟรานซิส ฟอร์ด คอปโปล่า, แวร์เนอร์ แฮร์โซก, จอห์น แคสซาเวทส์,
ดีเรค จาร์แมน,
เดวิด ลิ้นช์, อุลริเค่อ อ็อททิงเง่อร์, ฌอง ยูสตาเช่, ฌอง-ลุค โกดาร์,
คริส มาร์แกร์,
คิโยชิ คุโรซาว่า,
เทรซี่ มอฟแฟ็ต, มาโมรุ โอชิอิ, ฟิลิปป์ กรองดีญือซ์,
เอ็ดเวิร์ด หยาง,
อเล็กซานเดอร์ คลูเก้อ, ลารส์ ฟอน เทรียร์, มาซากิ โคบายาชิ,
อิงมาร์ เบิร์กแมน,
เบล่า ทาร์, เอริค โรห์แมร์, ลูเครเชีย มาร์เตล, จุนจิ ซาคาโมโตะ ,
สัตยาจิต เรย์ ,
บรู๊ซ คอนเนอร์ และยาสุจิโร่ โอสุ เป็นต้น
ฟิล์มไวรัส 4 : ฉบับสางสำแดง (2549)
สารานุกรมหนังคัลท์และสยองขวัญขนาดย่อม ที่คอหนังสุดโหด
แปลกประหลาดวิตถารทั้งหลายควรจะต้องมีไว้ในครอบครอง
เนื้อหาภายในเล่มประกอบด้วย
ย้อนอดีตความสยองบนจอเงิน กับ ศาลาเฉลิมรักษ์
(พร้อมภาพประกอบโฆษณาหนังที่เข้าโรงสมัยเจ้าคุณปู่)
โดย สนธยา ทรัพย์เย็น , เจาะลึกเบื้องหลังการสร้างงานของผู้กำกับหนังซอมบี้สยองโหด George A. Romero และ
David Cronenberg โดย อลงกรณ์ คล้ายสีแก้ว, ย้อนรอยหนังป่วนจิตของ Michael Haneke และผู้กำกับยอดอุบาทว์ John Waters โดย Filmsick, ปลุกตำนาน Frankenstein ปะทะผี Vampire โดย สนธยา ทรัพย์เย็น, คัลท์กันสนั่นจอกับ Edward D.Wood, Jack Smith, Ulrike Ottinger และ ผู้กำกับกลุ่ม Panic Movement โดย ‘กัลปพฤกษ์’, รู้จัก Linda Lovelace เจ้าของตำนาน Deep Throat, หนังโป๊ขึ้นหิ้งกันแบบตัวจริงเสียงจริง โดย โสภณา เชาว์วิวัฒน์กุล, สยองเลือดสาดกับ Trouble Everyday ของ Claire Denis โดย ไกรวุฒิ จุลพงศธร, เปิดตำนานหนังสยองขวัญอิตาเลียน กับ อลงกรณ์ คล้ายสีแก้ว,
อ่านเรื่องสั้นแปลเกี่ยวกับอันตรายของภาพยนตร์ “หนัง: ประดิษฐกรรมปีศาจ” โดย Theodore Roszak ผู้แต่ง Flicker, แนะนำ 15
หนังสยองขวัญสุดหฤโหดจากแดนนรกขุมสุดท้าย โดย ‘กัลปพฤกษ์’
และบทบันทึกหนังในวัยเยาว์โดย สุชาติ สวัสดิ์ศรี
= = = = = = = = = = = = = = = = = = = = = = = = = = = = = = = = = = =
คนของหนัง :ตุลาคม 2533 (หมด)
ฟิล์มไวรัส เล่ม 1 : เมษายน 2541 (หมด)
ฟิล์มไวรัส เล่ม 2 :ธันวาคม 2544 (หมด)
คุยกับหนัง :เมษายน 2541 (150 บาท)
Bookvirus 01- บุ๊คไวรัส เล่ม 1 : กันยายน 2547 (250 บาท)
Bookvirus 02 - บุ๊คไวรัส เล่ม 2 :ตุลาคม 2547 (199 บาท)
151 Cinema / filmvirus : มกราคม 2549(350 บาท) (สำนักพิมพ์ openbooks)
ฟิล์มไวรัส เล่ม 3 : มีนาคม 2549(180 บาท) (สำนักพิมพ์ openbooks)
ฟิล์มไวรัส เล่ม 4 : ตุลาคม 2549(390 บาท)
ฟิล์มไวรัส เล่ม 5 : มีนาคม 2550 (210 บาท)
The 8 Masters / filmvirus : เมษายน 2550 (195 บาท) (สำนักพิมพ์ openbooks)
= = = = = = = = = = = = = = = = = = = = = = = = = = = = = = = = = =
โครงการหนังสือ 2 เล่มสุดท้ายของ FILMVIRUS
1. Unknown Forces - สัตว์วิกาล: ภาพเรืองแสงของ อภิชาติพงศ์ วีระเศรษฐกุล (ตุลาคม 2550 / สำนักพิมพ์ openbooks)
2. Sculpting in Time เขียนโดย อังเดร ทาร์คอฟสกี้ (มกราคม 2559 / สำนักพิมพ์ ‘เอาตัวเป็นหนัง’)
หนังสือในเครือฟิล์มไวรัสส่วนใหญ่วางจำหน่ายที่ :
ร้าน Kinokuniya (สาขาพารากอน โทร. 02-6109500-06 และสาขาเซ็นทรัล เวิลด์ พลาซ่า
โทร. 02-2559834-6), ร้านดอกหญ้า สาขาสยามสแควร์ ซอย 3 โทร.02-2511660
และร้านเดอะบุ๊คเชสท์ สยามสแควร์ ซอย 2 โทร. 02-2511764
หรือ สั่งซื้อทางไปรษณีย์ที่ : ดวงกมลฟิล์มเฮ้าส์ (ฟิล์มไวรัส) ติดต่อ โมรีมาตย์
ระเด่นอาหมัด
โทร./ แฟ็กซ์ 02-9250141 , 081-3437803 โดยโอนเงินผ่านธนาคาร บัญชีออมทรัพย์
ในนาม โมรีมาตย์ ระเด่นอาหมัด
ธนาคารกรุงเทพ สาขาสยามสแควร์ เลขที่ 1 5 2- 4 – 3 2 2 8 0 – 5 หรือ
ธนาคารกรุงไทย สาขาเซ็นทรัลปิ่นเกล้า เลขที่ 0 3 1 – 0 – 0 9 0 5 6- 3
แล้วส่งแฟ็กซ์สำเนาใบฝากเงินพร้อมที่อยู่ของท่านที่เบอร์ 02-925-0141 แล้วกด 0
หรืออีเมล์ที่ morimartr@yahoo.com, filmvirus@yahoo.com
********************************************
สำหรับหนังสือต่อไปนี้กรุณาสั่งซื้อที่ :
คุยกับหนัง , บุ๊คไวรัส เล่ม 1 และ ปฏิบัติการหนังทุนน้อย สั่งซื้อที่ บ.
ดวงกมลสมัย จำกัด
โทร. 02-5417375-6 แฟกซ์ 02-5417377 หรือ email: dktoday@dktoday.net)
********************************************
ส่วน Filmvirus เล่ม 3 กับ 151 Cinema และ The Masters 8
สั่งซื้อที่ สำนักพิมพ์ openbooks โทร.02-6695145-6 หรือ http://www.onopen.com/
และ email: pinyopen@yahoo.com
โปรแกรมพิเศษของ ดวงกมลฟิล์มเฮ้าส์ (ฟิล์มไวรัส)
(ภาพจากงานหนังประหยัดที่สมาคมฝรั่งเศส)
พร้อมกับสนทนากับผู้กำกับ-ผู้อำนวยการสร้าง และนักวิจารณ์ชาวไทยอีกหลายชีวิต (ยุทธนา มุกดาสนิท, เป็นเอก รัตนเรือง, วิสูตร พูลวรลักษณ์, สนานจิตต์ บางสะพาน, คิง-สมจริง ศรีสุภาพ, อังเคิล, ปื๊ด, นนทรีย์ นิมิตรบุตร, สุทธากร สันติธวัช, นันทขว้าง สิรสุนทร, มโนธรรม เทียมเทียบรัตน์, สิทธิรักษ์ ตุลาพิทักษ์ - ดำเนินรายการโดย ทรงยศ แววหงษ์)
เทศกาลหนังนับญาติสถาบัน สมบัติภาพยนตร์ฝรั่งเศส – เยอรมัน (พฤษภาคม – มิถุนายน 2544)
จัดฉายหนังรอบพิเศษ เรื่อง Life as a Fatal Sexually Transmitted Disease
โดยได้รับเกียรติจากผู้กำกับหนังชื่อดัง Krzysztof Zanussi มาร่วมพูดคุยถึงผลงานของตัวเองด้วย
เทศกาลหนังรอยวรรณกรรมบนผืนฟิล์ม (พฤศจิกายน-ธันวาคม 2545)
เทศกาลหนังสั้นนานาชาติ 15/15 Film Festival ร่วมกับประเทศออสเตรเลีย (ประกวดทำหนังความยาวไม่เกิน 15 นาที
โดยต้องทำทุกกระบวนการเบ็ดเสร็จภายใน 15 ชั่วโมง!) จัดฉายที่ TK Park และ หอศิลป์เจ้าฟ้า
งานฉายหนังร่วมกับสถานทูตต่างๆ เช่น สถานทูตโปแลนด์, สถานทูตเชก, สถานทูตอิตาลี่, สถานทูตเยอรมัน,สถานทูตฝรั่งเศส และสถานทูตออสเตรเลีย เป็นต้น
สื่อสิ่งพิมพ์หรือนิตยสารที่ สนธยา ทรัพย์เย็น ร่วมเขียน
นิตยสารหนังและวีดีโอ ตั้งแต่ ปี 2533
นิตยสารฟิล์มวิว ตั้งแต่ ปี 2535
นิตยสารดอกเบี้ยการเมือง รายสัปดาห์ ปี 2536
ส่วนข้อเขียนตามวาระมีใน Pulp, รหัสคดีฉบับพิเศษ, ไบโอสโคป, กรุงเทพธุรกิจ, คนมีสี รายปักษ์วิจารณ์,
บทความแนะนำงานในหนังสือประกอบงานเทศกาลภาพยนตร์ทดลอง Bangkok Experimental Film Festival ครั้งที่ 2, Freeform, Esquire, พ็อคเก็ตบุ้ค Open House 4, นิตยสาร Filmax ฉบับที่ 2 และ วารสาร "อ่าน"
หนังสือภาพยนตร์ (และหนังสือวรรณกรรม) ในเครือ ดวงกมลฟิล์มเฮ้าส์ (ฟิล์มไวรัส)
โดยมี สนธยา ทรัพย์เย็น เป็นทั้งบรรณาธิการ และผู้เขียน
ปี 2533 คนของหนัง (ร่วมกันเขียนหลายคน)
ปี 2541 คุยกับหนัง (เขียนโดย อ.ทรงยศ แววหงษ์ – บรรณาธิการโดย สนธยา ทรัพย์เย็น)
ปี 2541 ฟิล์มไวรัส คู่มือผู้บริโภคหนังนานาชาติ (ร่วมกันเขียนหลายคน)
ปี 2542 สูจิบัตร เทศกาล ปฏิบัติการหนังประหยัด
ปี 2545 ฟิล์มไวรัส เล่ม 2 (ร่วมกันเขียนหลายคน)
ปี 2547 บุ๊คไวรัส 1 : A-Z หนังวรรณกรรม
(รวม 262 หนังนานาชาติที่สร้างจากหนังสือของนักเขียน 129 คน)
ปี 2547 บุ๊คไวรัส 2 (ร่วมกันเขียนหลายคน)
ปี 2549 151 CINEMA (ร่วมเขียนกับ ธเนศน์ นุ่นมัน และ อุทิศ เหมะมูล)
ปี 2549 ฟิล์มไวรัส เล่ม 3 ฉบับอีสาวกายสิทธิ์ (ร่วมกันเขียนหลายคน)
ปี 2549 ฟิล์มไวรัส เล่ม 4 ฉบับสางสำแดง : รวมหนังคัลท์ และหนังสยองขวัญระดับอุบาทว์คลาสสิค (ร่วมกันเขียนหลายคน)
ปี 2550 ฟิล์มไวรัส เล่ม 5 (ฉบับปฏิบัติการหนังทุนน้อย)
ปี 2550 The 8 Masters (8 ผู้กำกับภาพยนตร์ระดับครู) (ร่วมกันเขียน 4 คน)
กันยายน 2550 Unknown Forces (สัตว์วิกาล: ภาพเรืองแสงของ อภิชาติพงศ์ วีรเศรษฐกุล)
ปี 2552 หนังสือเรื่องสั้นแปล BookVirus เล่ม 3 (กาจับโลง), BookVirus เล่ม 4 (สนธิสัญญาอสูร), BookVirus เล่ม 5 (นางเพลิง)
ปี 2553 ปฏิบัติการหนังทุนข้ามชาติ: ตำรับหนังไทยโกอินเตอร์ (หนังสือเกี่ยวกับคนทำหนังไทยที่ได้รับเงินทุนต่างประเทศเพื่อสร้างภาพยนตร์ไทย - ในเล่มมีบทสัมภาษณ์คนทำหนังไทย 12 คน และบทความแนะนำหลักการขอทุนจากต่างชาติ)
เดอะ เว็นดิโก้ อสูรไพรทมิฬ - นิยายขนาดสั้นของ Algernon Blackwood (ถอดความโดย แดนอรัญ แสงทอง) Bookvirus จัดพิมพ์ร่วมกับ สำนักพิมพ์ openbooks
The Malady of Death (La Maladie de la Mort) นิยายขนาดสั้นของ Marguerite Duras (ถอดความจากภาษาฝรั่งเศส) Bookvirus จัดพิมพ์ร่วมกับ วารสารอ่าน
โครงการในอนาคต: เมษายน 2560 Sculpting in Time (อังเดร ทาร์คอฟสกี้) (เล่มสุดท้ายของฟิล์มไวรัส)
ผลงานอื่นๆ ของกลุ่มฟิล์มไวรัส
คอลัมน์ประจำเกี่ยวกับศิลปะหลายแขนงในเว็บไซต์ http://www.onopen.com/ คอลัมน์ Artvirus
คนมีสี (Vote) รายปักษ์สัปดาห์วิจารณ์
หมายเหตุ : ดวงกมลฟิล์มเฮ้าส์ (ฟิล์มไวรัส) เป็นเพียงหน่วยงานอิสระที่เผยแพร่ศิลปะทางภาพยนตร์ ให้สาธารณะชนได้ชมฟรีเท่านั้น โดยไม่เคยมีส่วนได้ส่วนเสีย หรือมีส่วนร่วมทางธุรกิจค้าขาย หรือให้เช่า ดีวีดีหนังทุกประเภทกับร้านค้าใด ๆ ในประเทศไทย
ดวงกมลฟิล์มเฮ้าส์ หรือ dk filmhouse (filmvirus) จัดฉายหนังด้อยโอกาสให้ผู้ชมภาพยนตร์ทั่วไปได้ชมฟรีมาตั้งแต่ปี 2538 โดยเริ่มจากเป็นส่วนหนึ่งของกิจกรรมในร้านหนังสือดวงกมล สาขาห้างสรรพสินค้าซีคอนสแควร์ จากนั้นจึงกลายเป็นหน่วยกำลังอิสระที่ใช้ทุนรอนส่วนตัว หาใช่มีองค์กรธุรกิจใด ๆ สนับสนุน กิจกรรมฉายหนังยังสืบเนื่องต่อมา ตามหอศิลป์ ร้านอาหาร สถาบันวัฒนธรรม ทีเคปาร์ค และ มหาวิทยาลัยต่าง ๆ รวมทั้งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์ นอกจากนั้นยังจัดพิมพ์หนังสือชุด filmvirus และ bookvirus ตั้งแต่ปี 2541-ปัจจุบัน (ส่วนหนังสือ "คนของหนัง" เมื่อปี 2533 เป็นผลงานก่อนตั้ง ฟิล์มไวรัส)
*******************************************************
DK Filmhouse (Filmvirus) founded in 1995. Its mission is to promote the alternative international films (non-mainstream) to Thai audiences. All films shown are free admission. We also published film books and world literaure in translation. 99 % of our projects are without sponsors and provided by our volunteer pockets only.
อ่านประวัติละเอียดได้ที่และ http://www.onopen.com/filmvirus/10-07-25/5494